fbpx
HomeEDUCATION

EDUCATION

Hyperinflation เมื่อเงินกลายเป็นเศษกระดาษ

วันนี้ เราจะออกเดินทางไปในโลกแห่งเศรษฐศาสตร์ เพื่อค้นหาปริศนาของภาวะเงินเฟ้อขั้นรุนแรง หรือ Hyperinflation กัน

อธิบายการลงทุนแบบ Technical Analysis สำหรับมือใหม่

การวิเคราะห์ทางเทคนิคหรือ Technical Analysis เป็นการศึกษาการเคลื่อนไหวของราคาในอดีตของสินทรัพย์ ทำไปเพื่อคาดการณ์การเคลื่อนไหวของราคาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต วิธีนี้ถูกใช้โดยเทรดเดอร์ทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นมือใหม่ที่พึ่งเข้าตลาดมา หรือว่ามือฉมังที่อยู่มานานแล้วก็ตาม Technical Analysis...

อธิบาย Impermanent Loss แบบเข้าใจง่าย

Impermanent Loss เป็นความเสี่ยงที่เราต้องเผชิญเมื่อเราไป Provide Liquidity ให้กับผู้ดูแลสภาพคล่อง มันเหมือนกับการซื้อหุ้นของบริษัทจำนวนมาก และราคาของมันก็พุ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ แต่เราไม่ได้รับอนุญาตให้ทำการขายมัน ลองนึกภาพว่าคุณซื้อมะนาว...

ทดสอบกลยุทธ์การลงทุนด้วยวิธี Backtesting

Backtesting หรือการทดสอบกลยุทธ์ย้อนหลัง เป็นวิธีที่เหล่าเทรดเดอร์และนักลงทุน สามารถใช้เพื่อทดสอบกลยุทธ์ของตัวเอง ดูว่ากลยุทธ์และวิธีการลงทุนของเรา จะให้ผลลัพธ์แบบใดในอดีต โดยไม่จำเป็นต้องเอาเงินจริงๆ ไปเสี่ยง Backtesting ประโยชน์ในการแสวงหากลยุทธ์ที่สามารถทำกำไรให้กับเราได้...

ระบบตรวจสอบความปลอดภัยในโลกบล็อกเชน Smart Contract Audits

ในโลกอันกว้างใหญ่และน่าตื่นเต้นของ DeFi ที่ซึ่งการตรวจสอบความปลอดภัยของสัญญาอัจฉริยะหรือ Smart Contract Audits ถือเป็นเรื่องปกติ การตรวจสอบเหล่านี้เป็นเหมือนแว่นขยายที่คอยกลั่นกรองสัญญาอัจฉริยะที่จะควบคุณธุรกรรมที่คุณทำ  แม้ว่าการพูดคุยกันเกี่ยวกับเรื่อง Smart...

Blockchain Trilemma ความท้าทายหลักของโลกบล็อกเชน

ลองนึกภาพหนังสือเล่มโปรดของคุณ ที่หน้ากระดาษแต่ละหน้าแทนบล็อก แลคำแต่ละคำในหน้าคือชิ้นส่วนของข้อมูล วิธีที่หน้ากระดาษเหล่านี้เชื่อมต่อกันเพื่อสร้างเรื่องราวนั้นคล้ายกับวิธีการทำงานของบล็อกเชน เทคโนโลยีนี้จัดระเบียบบล็อกข้อมูลตามลำดับและเชื่อมต่อกันอย่างปลอดภัย อย่างไรก็ตาม ก่อนที่เราจะดำดิ่งสู่ความมหัศจรรย์ของบล็อกเชน เราต้องพูดถึงความท้าทายที่เผชิญอยู่ ซึ่งเรียกว่า “Blockchain...

5 เคล็ด(ไม่)ลับ กับการจัดการความเสี่ยง

จักรวาลคริปโตมีสิ่งล่อตาล่อใจที่ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามามากมาย และเช่นเดียวกับที่นักบินอวกาศทุกคนต้องการคำแนะนำเกี่ยวกับจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาล นักลงทุนคริปโตกลยุทธ์บางอย่างเอาไว้สำหรับหลีกเลี่ยงหลุมดำแห่งความเสี่ยงเช่นกัน การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) คืออะไร ? ลองจินตนาการว่าคุณกำลังเตรียมตัวที่จะออกไปท่องเที่ยวไกลๆ คุณจำเป็นจะต้องตรวจสอบรถของคุณ สำรวจเส้นทาง...

ความมหัศจรรย์ของ Token Standard

คุณไม่เป็นคนเดียวอย่างแน่นอนที่รู้สึกทึ่งกับโลกแห่งคริปโตและเทคโนโลยีบล็อกเชน ด้วยจำนวนสกุลเงินดิจิทัลหลายพันสกุลในปัจจุบน เป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจมากว่า สกุลเงินดิจิทัลเหล่านั้น มีหลายสกุลที่ใช้พิมพ์เขียวแบบเดียวกัน พิมพ์เขียวที่ว่านี้คือ Token Standard หรือ มาตรฐานโทเค็น...

อะไรคือ Maximal Extractable Value (MEV) ?

ในโลกคริปโต มันมีแนวคิดที่น่าสนใจที่เรียกว่า Maximal Extractable Value หรือ MEV ลองนึกภาพว่าเรากำลังอบขนมเค้ก และเราพบวิธีการเพิ่มลูกกวาดตกแต่งหน้าเค้กโดยที่ไม่ต้องซื้อเพิ่ม...

คู่มือ Zero-Knowledge Proof สำหรับมือใหม่

ความปลอดภัยของสินทรัพย์คริปโตที่อยู่ในกระดานเทรดหรือบรรดากองทุนที่ให้บริการดูแลสินทรัพย์ ได้รับความสนใจมากขึ้น ในฐานะผู้ใช้บล็อกเชน เราให้ความสำคัญกับความโปร่งใสความเป็นส่วนตัวอย่างมาก วันนี้ เราจะสาธิตวิธีตรวจสอบสินทรัพย์ที่ผู้ดูแลทรัพย์สินถืออยู่โดยไม่ทำลายความสมดุลอันละเอียดอ่อนนี้ได้อย่างไร โดยปกติแล้ว เราต้องเลือกระหว่างความโปร่งใส ความไว้วางใจ...

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Cross-Chain Interoperability

เคยได้ยินหรือเห็นคำว่า “Cross-Chain Interoperability” กันไหม ? มันดูเหมือนป็นคำศัพท์ทางเทคนิคสำหรับผู้เชี่ยวชาญทางด้านบล็อกเชน แต่ไม่ต้องกังวลไป วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Cross-Chain...

Venom Foundation: ยุคใหม่ของเทคโนโลยี Blockchain?

ทำไมเราควรถึงติดตามโปรเจคนี้? วันนี้ทาง Enter to Start จะพาทุกคนเรียนรู้คร่าว ๆ เกี่ยวกับโปรเจคว่าโปรเจคนี้มีดีอะไร? ทำไมถึงได้รับ...

มาทำความรู้จักกับ $Venom

สำหรับเหรียญ Venom ถ้าใครเป็นสายล่า Airdrops คงจะเคยเห็นผ่านตามาบ้าง ซึ่งแน่นอนว่าเจ้าตัว Venom เองค่อนข้างอยู่ใน Early...

ERC-4337: อนาคตของ Ethereum Transactions

โลกของสกุลเงินดิจิทัล มีแนวคิดที่ซับซ้อนและคำศัพท์ทางเทคนิคมากมายที่เราต้องทำความรู้จักกับมัน ดังนั้น วันนี้เรากำลังดูสิ่งที่เรียกว่า ERC-4337 นี่คือการอัปเดตของเครือข่าย Ethereum ที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีที่เราโต้ตอบกันในโลกของคริปโต ในตอนแรกอาจฟังดูซับซ้อน...

ตายแล้ว ทำไงดี ? เตรียมความพร้อมให้สินทรัพย์คริปโตก่อนที่คุณจะจากไป

Bitcoin, Ether และคริปโตอื่นๆ อีกมากมายนับไม่ถ้วนกำลังกลายเป็นส่วนสำคัญของชีวิตดิจิทัลของเรา เมื่อสินทรัพย์ดิจิทัลเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น คำถามหนึ่งก็เกิดขึ้น: จะเกิดอะไรขึ้นกับคริปโตของคุณเมื่อคุณตายไป ? ถ้าเป็นสินทรัพย์แบบเก่า มันก็คงจะไม่ยากเท่าไหร่ในการทำพินัยกรรมเพื่อจัดการมรดกของคุณ...

ไขความลึกลับของ Data Tokenization

อะไรคือ Token ? คุณอาจเคยได้ยินคำว่า “โทเค็น (Token)” ที่หมุนเวียนไปมาในโลกของสกุลเงินดิจิทัล แต่คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าแท้จริงแล้ว โทเค็นหมายความว่าอย่างไร?  โดยพื้นฐานแล้ว โทเค็นไม่สามารถถูกขุดได้เอง...

ไขความลึกลับของ Device Fingerprint

อะไรคือ Device Fingerprint ? คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าอุปกรณ์ดิจิทัลของคุณแตกต่างจากอุปกรณ์อื่นๆ นับล้านๆ เครื่องอย่างไร นั่นคือที่มาของ Device Fingerprint...

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับความแออัดของเครือข่ายบล็อกเชน (Blockchain Network Congestion)

พวกเราคงเคยเจอกับรถติดในช่วงเวลาที่ฝนตกตอนเลิกงาน สถานการณ์ที่คล้ายกันนี้ก็เกิดขึ้นในโลกของบล็อกเชนเช่นกัน ที่ซึ่งแทนที่จะใช้รถยนต์ เรากำลังเผชิญกับการจราจรติดขัดในการทำธุรกรรม เหตุการณ์นี้เรียกว่าความแออัดของเครือข่ายบล็อกเชน (Blockchain Network Congestion) เช่นเดียวกันกับที่รถจำนวนมากเกินไปอาจทำให้การจราจรติดขัด จำนวนธุรกรรมที่มากเกินไปอาจทำให้เครือข่ายบล็อกเชนแออัดได้เหมือนกัน...

Black Monday วันตลาดหุ้นถล่ม

Black Monday คือวันที่แย่สุดๆ ของตลาดหุ้นสหรัฐฯ ซึ่งหมายถึงวันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม ปี 1987...

Hyperinflation เมื่อเงินกลายเป็นเศษกระดาษ

วันนี้ เราจะออกเดินทางไปในโลกแห่งเศรษฐศาสตร์ เพื่อค้นหาปริศนาของภาวะเงินเฟ้อขั้นรุนแรง หรือ Hyperinflation กัน

อธิบายการลงทุนแบบ Technical Analysis สำหรับมือใหม่

การวิเคราะห์ทางเทคนิคหรือ Technical Analysis เป็นการศึกษาการเคลื่อนไหวของราคาในอดีตของสินทรัพย์ ทำไปเพื่อคาดการณ์การเคลื่อนไหวของราคาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต วิธีนี้ถูกใช้โดยเทรดเดอร์ทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นมือใหม่ที่พึ่งเข้าตลาดมา หรือว่ามือฉมังที่อยู่มานานแล้วก็ตาม Technical Analysis ทำงานอย่างไร ? เทรดเดอร์ที่ใช้การวิเคราะห์ทางเทคนิคเชื่อว่า การเคลื่อนไหวของราคาในอดีต สามารถทำนายการเคลื่อนไหวของราคาในอนาคตได้ ซึ่งเราสามารถดูรูปแบบการเคลื่อนไหวของราคาได้จากกราฟ การวิเคราะห์ทางเทคนิคเป็นการศึกษาราคาปัจจุบันและราคาในอดีต โดยอยู่บนหลักที่ว่า ความผันผวนของราคาไม่ได้เกินขึ้นแบบสุ่มๆ และสามารถระบุแนวโน้มได้เมื่อเวลาผ่านไป แก่นแท้ของ Technical Analysis คือการวิเคราะห์ Demand และ Supply ซึ่งเป็นตัวแทนของความเชื่อมันของตลาดโดย...

อธิบาย Impermanent Loss แบบเข้าใจง่าย

Impermanent Loss เป็นความเสี่ยงที่เราต้องเผชิญเมื่อเราไป Provide Liquidity ให้กับผู้ดูแลสภาพคล่อง มันเหมือนกับการซื้อหุ้นของบริษัทจำนวนมาก และราคาของมันก็พุ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ แต่เราไม่ได้รับอนุญาตให้ทำการขายมัน ลองนึกภาพว่าคุณซื้อมะนาว 10 ลูก มาทำน้ำมะนาวขายที่ราคา 1 ดอลลาร์ต่อ 1 แก้ว และคุณมีน้ำมะนาว 10 แก้ว หมายความว่าสินทรัพย์ของคุณตอนนี้มีมูลค่า 10 ดอลลาร์ และวันหนึ่ง ราคาของมะนาวขึ้น ทำให้คุณสามารถขายน้ำมะนาวได้ที่ราคาแก้วละ...

ทดสอบกลยุทธ์การลงทุนด้วยวิธี Backtesting

Backtesting หรือการทดสอบกลยุทธ์ย้อนหลัง เป็นวิธีที่เหล่าเทรดเดอร์และนักลงทุน สามารถใช้เพื่อทดสอบกลยุทธ์ของตัวเอง ดูว่ากลยุทธ์และวิธีการลงทุนของเรา จะให้ผลลัพธ์แบบใดในอดีต โดยไม่จำเป็นต้องเอาเงินจริงๆ ไปเสี่ยง Backtesting ประโยชน์ในการแสวงหากลยุทธ์ที่สามารถทำกำไรให้กับเราได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผลของการ Backtest ไม่ได้การันตีว่า กลยุทธ์ของเรา จะมีประสิทธิภาพที่ดีในอนาคต Backtesting ทำงานอย่างไร ? ซอฟต์แวร์สำหรับการทดสอบกลยุทธ์ย้อนหลัง ใช้ข้อมูลของตลาดในอดีต เพื่อจำลองการซื้อขายตามวิธีที่เรากำหนด ตัวอย่างเช่น เราสามารถทำสอบว่า การเข้าซื้อ Bitcoin เมื่อราคาปิดเหนือเส้น...

ระบบตรวจสอบความปลอดภัยในโลกบล็อกเชน Smart Contract Audits

ในโลกอันกว้างใหญ่และน่าตื่นเต้นของ DeFi ที่ซึ่งการตรวจสอบความปลอดภัยของสัญญาอัจฉริยะหรือ Smart Contract Audits ถือเป็นเรื่องปกติ การตรวจสอบเหล่านี้เป็นเหมือนแว่นขยายที่คอยกลั่นกรองสัญญาอัจฉริยะที่จะควบคุณธุรกรรมที่คุณทำ  แม้ว่าการพูดคุยกันเกี่ยวกับเรื่อง Smart Contract Audits จะเป็นอะไรที่ปกติ แต่ด้วยความที่มันเกี่ยวข้องกับภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอันซับซ้อนและเข้าใจยาก ทำให้หลายคนไม่ได้สนใจที่จะเรียนรู้มัน แต่ไม่เป็นไร วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจกันแบบง่ายๆ Smart Contract Audits คืออะไร ? ลองนึกภาพว่า Smart Contract ของโปรเจกต์ที่คุณใช้งานคือนวนิยายที่เขียนขึ้นด้วยภาษา Solidity...

Blockchain Trilemma ความท้าทายหลักของโลกบล็อกเชน

ลองนึกภาพหนังสือเล่มโปรดของคุณ ที่หน้ากระดาษแต่ละหน้าแทนบล็อก แลคำแต่ละคำในหน้าคือชิ้นส่วนของข้อมูล วิธีที่หน้ากระดาษเหล่านี้เชื่อมต่อกันเพื่อสร้างเรื่องราวนั้นคล้ายกับวิธีการทำงานของบล็อกเชน เทคโนโลยีนี้จัดระเบียบบล็อกข้อมูลตามลำดับและเชื่อมต่อกันอย่างปลอดภัย อย่างไรก็ตาม ก่อนที่เราจะดำดิ่งสู่ความมหัศจรรย์ของบล็อกเชน เราต้องพูดถึงความท้าทายที่เผชิญอยู่ ซึ่งเรียกว่า “Blockchain Trilemma” Blockchain Trliemma คือทรีโอ้ในฝันของอุตสาหกรรมบล็อกเชน โดย Vitalik Buterin ผู้ร่วมก่อตั้ง Ethereum ได้อธิบายเอาไว้ว่า มันคือการบรรลุสิ่งสามสิ่งของบล็อกเชน นั้นก็คือ  Decentralization (การกระจายอำนาจ), Security (ความปลอดภัย)...

5 เคล็ด(ไม่)ลับ กับการจัดการความเสี่ยง

จักรวาลคริปโตมีสิ่งล่อตาล่อใจที่ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามามากมาย และเช่นเดียวกับที่นักบินอวกาศทุกคนต้องการคำแนะนำเกี่ยวกับจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาล นักลงทุนคริปโตกลยุทธ์บางอย่างเอาไว้สำหรับหลีกเลี่ยงหลุมดำแห่งความเสี่ยงเช่นกัน การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) คืออะไร ? ลองจินตนาการว่าคุณกำลังเตรียมตัวที่จะออกไปท่องเที่ยวไกลๆ คุณจำเป็นจะต้องตรวจสอบรถของคุณ สำรวจเส้นทาง และเตรียมแผนสำรองเอาไว้ใช่ไหม ? เช่นเดียวกัน ในโลกของการลงทุน คุณก็จำเป็นที่จะต้องวางแผนเอาไว้รับมือกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ตอนนี้ ก่อนที่เราจะลงลึกถึงกลยุทธ์การจัดการความเสี่ยง เรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการวางแผนการจัดการความเสี่ยง 4 ประการกันก่อนคือ Acceptance : การยอมรับการตัดสินใจที่จะรับความเสี่ยงในการลงทุน แต่ไม่ยอมจ่ายเงินเพื่อหลีกเลี่ยงมัน เนื่องจากการขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นนั้นไม่ได้มากมายอะไร ก็เหมือนกับการที่คุณเห็นหลุมบนถนน คุณรู้ว่ามันอยู่ตรงนั้น...

ความมหัศจรรย์ของ Token Standard

คุณไม่เป็นคนเดียวอย่างแน่นอนที่รู้สึกทึ่งกับโลกแห่งคริปโตและเทคโนโลยีบล็อกเชน ด้วยจำนวนสกุลเงินดิจิทัลหลายพันสกุลในปัจจุบน เป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจมากว่า สกุลเงินดิจิทัลเหล่านั้น มีหลายสกุลที่ใช้พิมพ์เขียวแบบเดียวกัน พิมพ์เขียวที่ว่านี้คือ Token Standard หรือ มาตรฐานโทเค็น มันเป็นตัวกำหนดประเภทและคุณลักษณะของโทเค็นบนบล็อกเชน แล้วอะไรทำให้ Token Standard ถึงมีความสำคัญกับโลกคริปโต ? Token Standard มีตัวตนอยู่ในฐานะภาษาสากลของโลกคริปโต มันเป็นสิ่งที่สร้างพื้นที่ให้สกุลเงินดิจิทัลต่างๆ สามารถโต้ตอบและทำงานร่วมกันได้ ตัวอย่างเช่น โทเค็นใหม่ที่สร้างขึ้นโดยมาตรฐานโทเค็นบางตัว สามารถปรับใช้กับแพลตฟอร์มที่มีอยู่แล้วได้ อย่างเช่น กระเป๋าเงิน Metamask ความสามรถในการทำงานร่วมกันคือเหตุผลที่คุณสามารถแลกเปลี่ยนโทเค็น...

อะไรคือ Maximal Extractable Value (MEV) ?

ในโลกคริปโต มันมีแนวคิดที่น่าสนใจที่เรียกว่า Maximal Extractable Value หรือ MEV ลองนึกภาพว่าเรากำลังอบขนมเค้ก และเราพบวิธีการเพิ่มลูกกวาดตกแต่งหน้าเค้กโดยที่ไม่ต้องซื้อเพิ่ม หรือเราพบวิธีการใช้ประโยชน์จากส่วนผสมได้มากขึ้น นั่นคล้ายกับสิ่งที่ MEV แต่ในโลกคริปโต มันหมายถึงกลยุทธ์ในการจัดลำดับธุรกรรมบนเครือข่ายบล็อกเชนใหม่ เพื่อรีดเค้นกำไรออกมาให้ได้มากที่สุด MEV ในยุคแรกๆ ในช่วงแรกๆ MEV ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับเครือข่าย Ethereum ซึ่งแต่ก่อนนั้นใช้ระบบที่เรียกว่า Proof-of-Work โดย Miner หรือนักขุด...

คู่มือ Zero-Knowledge Proof สำหรับมือใหม่

ความปลอดภัยของสินทรัพย์คริปโตที่อยู่ในกระดานเทรดหรือบรรดากองทุนที่ให้บริการดูแลสินทรัพย์ ได้รับความสนใจมากขึ้น ในฐานะผู้ใช้บล็อกเชน เราให้ความสำคัญกับความโปร่งใสความเป็นส่วนตัวอย่างมาก วันนี้ เราจะสาธิตวิธีตรวจสอบสินทรัพย์ที่ผู้ดูแลทรัพย์สินถืออยู่โดยไม่ทำลายความสมดุลอันละเอียดอ่อนนี้ได้อย่างไร โดยปกติแล้ว เราต้องเลือกระหว่างความโปร่งใส ความไว้วางใจ และการรักษาความลับของข้อมูล ข่าวดีก็คือ เรามีทางออก เราสามารถใช้การผสมผสานของโปรโตคอล Zero-Knowledge Proof เช่น zk-SNARK และ Merkle tree เพื่อจัดการกับสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำความเข้าใจกับ Zero-Knowledge Proof Zero-Knowledge Proof ช่วยให้ฝ่ายหนึ่ง...

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Cross-Chain Interoperability

เคยได้ยินหรือเห็นคำว่า “Cross-Chain Interoperability” กันไหม ? มันดูเหมือนป็นคำศัพท์ทางเทคนิคสำหรับผู้เชี่ยวชาญทางด้านบล็อกเชน แต่ไม่ต้องกังวลไป วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Cross-Chain Interoperability หรือ การทำงานร่วมกันข้ามสายโซ่กัน ลองนึกภาพว่าบล็อกเชนแต่ละเครือข่ายคือเกาะที่แยกออกจากกัน แต่ละเกาะมีสมบัติ (Assets), ผู้อยู่อาศัย (Serivces) และ กฏเกณฑ์ (Transactions) ที่มีเอกลักษณ์ของตัวเอง ซึ่งมันก็คงจะดีไม่น้อยถ้าหากว่าเกาะเหล่านี้สามารถสื่อสาร แลกเปลี่ยนสมบัติ และเข้าใจกฏเกณฑ์ของกันและกันได้ ซึ่งนั้นก็คือสิ่งที่...

Venom Foundation: ยุคใหม่ของเทคโนโลยี Blockchain?

ทำไมเราควรถึงติดตามโปรเจคนี้? วันนี้ทาง Enter to Start จะพาทุกคนเรียนรู้คร่าว ๆ เกี่ยวกับโปรเจคว่าโปรเจคนี้มีดีอะไร? ทำไมถึงได้รับ License ที่ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และมีมูลค่ากว่า 1000 ล้านบาท Venom Foundation เป็นใคร? Venom Foundation เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ได้รับใบอนุญาตเป็นรายแรกของจาก Abu Dhabi Global...

มาทำความรู้จักกับ $Venom

สำหรับเหรียญ Venom ถ้าใครเป็นสายล่า Airdrops คงจะเคยเห็นผ่านตามาบ้าง ซึ่งแน่นอนว่าเจ้าตัว Venom เองค่อนข้างอยู่ใน Early Stage และที่สำคัญเลยคือมีการได้รับเงินระดมทุนไปเป็นจำนวนมากจาก VC ต่างๆ ก่อนอื่นเราจะมาทำความรู้จักกับ @VenomFoundation, หลักการทำงาน, Tokenomics และ การล่า Airdrops เกี่ยวกับ Venom Venom Base on asynchronous architecture...

ERC-4337: อนาคตของ Ethereum Transactions

โลกของสกุลเงินดิจิทัล มีแนวคิดที่ซับซ้อนและคำศัพท์ทางเทคนิคมากมายที่เราต้องทำความรู้จักกับมัน ดังนั้น วันนี้เรากำลังดูสิ่งที่เรียกว่า ERC-4337 นี่คือการอัปเดตของเครือข่าย Ethereum ที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีที่เราโต้ตอบกันในโลกของคริปโต ในตอนแรกอาจฟังดูซับซ้อน แต่ลองดูแล้วคุณจะเห็นว่ามันช่วยให้ผู้ใช้งานอย่างเราๆ ทำอะไรง่ายขึ้นได้อย่างไร ERC-4337 คืออะไร ? Ethereum เช่นเดียวกับเครือข่ายอื่น ๆ มีสิ่งที่เรียกว่า 'Ethereum Improvement Proposals' หรือเรียกสั้น ๆ ว่า EIP มันเป็นแนวคิดในการทำให้เครือข่ายดีขึ้น...

ตายแล้ว ทำไงดี ? เตรียมความพร้อมให้สินทรัพย์คริปโตก่อนที่คุณจะจากไป

Bitcoin, Ether และคริปโตอื่นๆ อีกมากมายนับไม่ถ้วนกำลังกลายเป็นส่วนสำคัญของชีวิตดิจิทัลของเรา เมื่อสินทรัพย์ดิจิทัลเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น คำถามหนึ่งก็เกิดขึ้น: จะเกิดอะไรขึ้นกับคริปโตของคุณเมื่อคุณตายไป ? ถ้าเป็นสินทรัพย์แบบเก่า มันก็คงจะไม่ยากเท่าไหร่ในการทำพินัยกรรมเพื่อจัดการมรดกของคุณ แต่เมื่อพูดถึงคริปโตแล้ว ความท้าทายใหม่ก็เกิดขึ้น ด้วยความที่โลกคริปโตมีกระดานเทรด แพลตฟอร์ม และเทคโนโลยีที่หลากหลายในการใช้งาน การค้นหาว่าสินทรัพย์มันไปอยู่ตรงไหนบ้างหลังจากเจ้าของตายไปอาจเป็นอุปสรรคแรก จะเกิดอะไรหากคนที่คุณรัก ไม่สามารถเข้าถึงกระเป๋าเงินหรือบัญชีของคุณได้เพราะไม่มี Private Key หรือไม่รู้รหัส ความพยายามของพวกเขาในการค้นหาเพื่อเข้าถึงสินทรัพย์ของคุณอาจไร้ประโยชน์ เป็นผลให้ความมั่งคั่งทางดิจิทัลของคุณ ไม่ว่าจะเป็น Bitcoin, Ethereum, Altcoins...

ไขความลึกลับของ Data Tokenization

อะไรคือ Token ? คุณอาจเคยได้ยินคำว่า “โทเค็น (Token)” ที่หมุนเวียนไปมาในโลกของสกุลเงินดิจิทัล แต่คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าแท้จริงแล้ว โทเค็นหมายความว่าอย่างไร?  โดยพื้นฐานแล้ว โทเค็นไม่สามารถถูกขุดได้เอง มันจะถูกสร้างขึ้นโดยใช้บล็อกเชน อย่างโทเค็น $UNI หรือ $SUSHI บนเครือข่าย Ethereum วิธีการใช้งานของมันก็มีหลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นสกุลเงิน ไปจนถึงใช้ในการปกป้องข้อมูล มาตรฐานโทเค็นที่ได้รับความนิยมก็อย่าง ERC-20, ERC-721 และ ERC-1155 โทเค็น...

ไขความลึกลับของ Device Fingerprint

อะไรคือ Device Fingerprint ? คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าอุปกรณ์ดิจิทัลของคุณแตกต่างจากอุปกรณ์อื่นๆ นับล้านๆ เครื่องอย่างไร นั่นคือที่มาของ Device Fingerprint ซึ่งไม่ได้หมายถึงเครื่องแสกนลายนิ้วมือ ในโลกของวิทยาการคอมพิวเตอร์ “Fingerprinting” หมายถึงการสร้างตัวระบุเฉพาะ สำหรับข้อมูลดิจิทัลทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นลายนิ้วมือของโทรศัพท์หรือคอมพิวเตอร์ โดยมีเป้าหมายเพื่อระบุผู้ใช้หรืออุปกรณ์ พูดง่ายๆ ก็คือ กระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับการรวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ดิจิทัลของคุณ  ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์หรืออะไรก็ตาม ซึ่งกระบวนการนี้สามารถทำได้ แม้ว่าคุณจะทำการปกปิด IP หรือว่าเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ใช้งาน เมื่อก่อน บริการวิเคราะห์เว็บไซต์...

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับความแออัดของเครือข่ายบล็อกเชน (Blockchain Network Congestion)

พวกเราคงเคยเจอกับรถติดในช่วงเวลาที่ฝนตกตอนเลิกงาน สถานการณ์ที่คล้ายกันนี้ก็เกิดขึ้นในโลกของบล็อกเชนเช่นกัน ที่ซึ่งแทนที่จะใช้รถยนต์ เรากำลังเผชิญกับการจราจรติดขัดในการทำธุรกรรม เหตุการณ์นี้เรียกว่าความแออัดของเครือข่ายบล็อกเชน (Blockchain Network Congestion) เช่นเดียวกันกับที่รถจำนวนมากเกินไปอาจทำให้การจราจรติดขัด จำนวนธุรกรรมที่มากเกินไปอาจทำให้เครือข่ายบล็อกเชนแออัดได้เหมือนกัน กรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อธุรกรรมจำนวนมากถูกส่งเข้ามา มากเกินกว่าที่เครือข่ายจะสามารถจัดการได้ ลองนึกภาพภาพว่า Blockchain เป็นเกมการสร้างบล็อก ซึ่งแต่ละบล็อกประกอบด้วยกลุ่มของธุรกรรม ยิ่งธุรกรรมมาก ยิ่งต้องใช้บล็อกมาก แต่บางครั้ง อาจมีการทำธุรกรรมที่มากเกินไปสำหรับ blockchain จนไม่สามารถจัดการได้ทันท่วงที แล้ว Blockchain ทำงานอย่างไร? ลองนึกภาพสายโซ่ยาวๆ ที่แต่ละข้อต่อเป็นตัวแทนของบล็อก บล็อกเหล่านี้ประกอบด้วยข้อมูลธุรกรรมจากผู้ใช้...

Black Monday วันตลาดหุ้นถล่ม

Black Monday คือวันที่แย่สุดๆ ของตลาดหุ้นสหรัฐฯ ซึ่งหมายถึงวันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม ปี 1987 ซึ่งในวันนั้น ดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์ (DJIA) ลดลงมากถึง 22% ภายในวันเดียว เหตุการณ์ความปั่นป่วนทางการเงินครั้งนี้ไม่ใช่เหตุการณ์เพียงครั้งเดียว เนื่องจากก่อนหน้านี้ ตลาดหุ้นมีการดิ่งลงครั้งใหญ่ถึงสองครั้งเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้า Black Monday มีชื่อเสียงโด่งดังในด้านการเริ่มต้นการชะลอตัวของตลาดทั่วโลก ด้วยปริมาณการซื้อขายที่เพิ่มสูงขึ้น ระบบคอมพิวเตอร์ในสมัยนั้นจึงต้องทำงานอย่างหนัก เกิดความล่าช้าอย่างมาก จนไม่สามารถทำการจับคู่คำสั่งซื้อที่เข้ามาอย่างมหาศาลให้สำเร็จครบถ้วนได้ แม้ว่าโดยทั่วไปแล้ว...

Hyperinflation เมื่อเงินกลายเป็นเศษกระดาษ

วันนี้ เราจะออกเดินทางไปในโลกแห่งเศรษฐศาสตร์ เพื่อค้นหาปริศนาของภาวะเงินเฟ้อขั้นรุนแรง หรือ Hyperinflation กัน

อธิบายการลงทุนแบบ Technical Analysis สำหรับมือใหม่

การวิเคราะห์ทางเทคนิคหรือ Technical Analysis เป็นการศึกษาการเคลื่อนไหวของราคาในอดีตของสินทรัพย์ ทำไปเพื่อคาดการณ์การเคลื่อนไหวของราคาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต วิธีนี้ถูกใช้โดยเทรดเดอร์ทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นมือใหม่ที่พึ่งเข้าตลาดมา หรือว่ามือฉมังที่อยู่มานานแล้วก็ตาม Technical Analysis ทำงานอย่างไร ? เทรดเดอร์ที่ใช้การวิเคราะห์ทางเทคนิคเชื่อว่า การเคลื่อนไหวของราคาในอดีต สามารถทำนายการเคลื่อนไหวของราคาในอนาคตได้ ซึ่งเราสามารถดูรูปแบบการเคลื่อนไหวของราคาได้จากกราฟ การวิเคราะห์ทางเทคนิคเป็นการศึกษาราคาปัจจุบันและราคาในอดีต โดยอยู่บนหลักที่ว่า ความผันผวนของราคาไม่ได้เกินขึ้นแบบสุ่มๆ และสามารถระบุแนวโน้มได้เมื่อเวลาผ่านไป แก่นแท้ของ Technical Analysis คือการวิเคราะห์ Demand และ Supply ซึ่งเป็นตัวแทนของความเชื่อมันของตลาดโดย...

อธิบาย Impermanent Loss แบบเข้าใจง่าย

Impermanent Loss เป็นความเสี่ยงที่เราต้องเผชิญเมื่อเราไป Provide Liquidity ให้กับผู้ดูแลสภาพคล่อง มันเหมือนกับการซื้อหุ้นของบริษัทจำนวนมาก และราคาของมันก็พุ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ แต่เราไม่ได้รับอนุญาตให้ทำการขายมัน ลองนึกภาพว่าคุณซื้อมะนาว 10 ลูก มาทำน้ำมะนาวขายที่ราคา 1 ดอลลาร์ต่อ 1 แก้ว และคุณมีน้ำมะนาว 10 แก้ว หมายความว่าสินทรัพย์ของคุณตอนนี้มีมูลค่า 10 ดอลลาร์ และวันหนึ่ง ราคาของมะนาวขึ้น ทำให้คุณสามารถขายน้ำมะนาวได้ที่ราคาแก้วละ...

ทดสอบกลยุทธ์การลงทุนด้วยวิธี Backtesting

Backtesting หรือการทดสอบกลยุทธ์ย้อนหลัง เป็นวิธีที่เหล่าเทรดเดอร์และนักลงทุน สามารถใช้เพื่อทดสอบกลยุทธ์ของตัวเอง ดูว่ากลยุทธ์และวิธีการลงทุนของเรา จะให้ผลลัพธ์แบบใดในอดีต โดยไม่จำเป็นต้องเอาเงินจริงๆ ไปเสี่ยง Backtesting ประโยชน์ในการแสวงหากลยุทธ์ที่สามารถทำกำไรให้กับเราได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผลของการ Backtest ไม่ได้การันตีว่า กลยุทธ์ของเรา จะมีประสิทธิภาพที่ดีในอนาคต Backtesting ทำงานอย่างไร ? ซอฟต์แวร์สำหรับการทดสอบกลยุทธ์ย้อนหลัง ใช้ข้อมูลของตลาดในอดีต เพื่อจำลองการซื้อขายตามวิธีที่เรากำหนด ตัวอย่างเช่น เราสามารถทำสอบว่า การเข้าซื้อ Bitcoin เมื่อราคาปิดเหนือเส้น...

ระบบตรวจสอบความปลอดภัยในโลกบล็อกเชน Smart Contract Audits

ในโลกอันกว้างใหญ่และน่าตื่นเต้นของ DeFi ที่ซึ่งการตรวจสอบความปลอดภัยของสัญญาอัจฉริยะหรือ Smart Contract Audits ถือเป็นเรื่องปกติ การตรวจสอบเหล่านี้เป็นเหมือนแว่นขยายที่คอยกลั่นกรองสัญญาอัจฉริยะที่จะควบคุณธุรกรรมที่คุณทำ  แม้ว่าการพูดคุยกันเกี่ยวกับเรื่อง Smart Contract Audits จะเป็นอะไรที่ปกติ แต่ด้วยความที่มันเกี่ยวข้องกับภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอันซับซ้อนและเข้าใจยาก ทำให้หลายคนไม่ได้สนใจที่จะเรียนรู้มัน แต่ไม่เป็นไร วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจกันแบบง่ายๆ Smart Contract Audits คืออะไร ? ลองนึกภาพว่า Smart Contract ของโปรเจกต์ที่คุณใช้งานคือนวนิยายที่เขียนขึ้นด้วยภาษา Solidity...

Blockchain Trilemma ความท้าทายหลักของโลกบล็อกเชน

ลองนึกภาพหนังสือเล่มโปรดของคุณ ที่หน้ากระดาษแต่ละหน้าแทนบล็อก แลคำแต่ละคำในหน้าคือชิ้นส่วนของข้อมูล วิธีที่หน้ากระดาษเหล่านี้เชื่อมต่อกันเพื่อสร้างเรื่องราวนั้นคล้ายกับวิธีการทำงานของบล็อกเชน เทคโนโลยีนี้จัดระเบียบบล็อกข้อมูลตามลำดับและเชื่อมต่อกันอย่างปลอดภัย อย่างไรก็ตาม ก่อนที่เราจะดำดิ่งสู่ความมหัศจรรย์ของบล็อกเชน เราต้องพูดถึงความท้าทายที่เผชิญอยู่ ซึ่งเรียกว่า “Blockchain Trilemma” Blockchain Trliemma คือทรีโอ้ในฝันของอุตสาหกรรมบล็อกเชน โดย Vitalik Buterin ผู้ร่วมก่อตั้ง Ethereum ได้อธิบายเอาไว้ว่า มันคือการบรรลุสิ่งสามสิ่งของบล็อกเชน นั้นก็คือ  Decentralization (การกระจายอำนาจ), Security (ความปลอดภัย)...

5 เคล็ด(ไม่)ลับ กับการจัดการความเสี่ยง

จักรวาลคริปโตมีสิ่งล่อตาล่อใจที่ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามามากมาย และเช่นเดียวกับที่นักบินอวกาศทุกคนต้องการคำแนะนำเกี่ยวกับจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาล นักลงทุนคริปโตกลยุทธ์บางอย่างเอาไว้สำหรับหลีกเลี่ยงหลุมดำแห่งความเสี่ยงเช่นกัน การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) คืออะไร ? ลองจินตนาการว่าคุณกำลังเตรียมตัวที่จะออกไปท่องเที่ยวไกลๆ คุณจำเป็นจะต้องตรวจสอบรถของคุณ สำรวจเส้นทาง และเตรียมแผนสำรองเอาไว้ใช่ไหม ? เช่นเดียวกัน ในโลกของการลงทุน คุณก็จำเป็นที่จะต้องวางแผนเอาไว้รับมือกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ตอนนี้ ก่อนที่เราจะลงลึกถึงกลยุทธ์การจัดการความเสี่ยง เรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการวางแผนการจัดการความเสี่ยง 4 ประการกันก่อนคือ Acceptance : การยอมรับการตัดสินใจที่จะรับความเสี่ยงในการลงทุน แต่ไม่ยอมจ่ายเงินเพื่อหลีกเลี่ยงมัน เนื่องจากการขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นนั้นไม่ได้มากมายอะไร ก็เหมือนกับการที่คุณเห็นหลุมบนถนน คุณรู้ว่ามันอยู่ตรงนั้น...

ความมหัศจรรย์ของ Token Standard

คุณไม่เป็นคนเดียวอย่างแน่นอนที่รู้สึกทึ่งกับโลกแห่งคริปโตและเทคโนโลยีบล็อกเชน ด้วยจำนวนสกุลเงินดิจิทัลหลายพันสกุลในปัจจุบน เป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจมากว่า สกุลเงินดิจิทัลเหล่านั้น มีหลายสกุลที่ใช้พิมพ์เขียวแบบเดียวกัน พิมพ์เขียวที่ว่านี้คือ Token Standard หรือ มาตรฐานโทเค็น มันเป็นตัวกำหนดประเภทและคุณลักษณะของโทเค็นบนบล็อกเชน แล้วอะไรทำให้ Token Standard ถึงมีความสำคัญกับโลกคริปโต ? Token Standard มีตัวตนอยู่ในฐานะภาษาสากลของโลกคริปโต มันเป็นสิ่งที่สร้างพื้นที่ให้สกุลเงินดิจิทัลต่างๆ สามารถโต้ตอบและทำงานร่วมกันได้ ตัวอย่างเช่น โทเค็นใหม่ที่สร้างขึ้นโดยมาตรฐานโทเค็นบางตัว สามารถปรับใช้กับแพลตฟอร์มที่มีอยู่แล้วได้ อย่างเช่น กระเป๋าเงิน Metamask ความสามรถในการทำงานร่วมกันคือเหตุผลที่คุณสามารถแลกเปลี่ยนโทเค็น...

อะไรคือ Maximal Extractable Value (MEV) ?

ในโลกคริปโต มันมีแนวคิดที่น่าสนใจที่เรียกว่า Maximal Extractable Value หรือ MEV ลองนึกภาพว่าเรากำลังอบขนมเค้ก และเราพบวิธีการเพิ่มลูกกวาดตกแต่งหน้าเค้กโดยที่ไม่ต้องซื้อเพิ่ม หรือเราพบวิธีการใช้ประโยชน์จากส่วนผสมได้มากขึ้น นั่นคล้ายกับสิ่งที่ MEV แต่ในโลกคริปโต มันหมายถึงกลยุทธ์ในการจัดลำดับธุรกรรมบนเครือข่ายบล็อกเชนใหม่ เพื่อรีดเค้นกำไรออกมาให้ได้มากที่สุด MEV ในยุคแรกๆ ในช่วงแรกๆ MEV ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับเครือข่าย Ethereum ซึ่งแต่ก่อนนั้นใช้ระบบที่เรียกว่า Proof-of-Work โดย Miner หรือนักขุด...

คู่มือ Zero-Knowledge Proof สำหรับมือใหม่

ความปลอดภัยของสินทรัพย์คริปโตที่อยู่ในกระดานเทรดหรือบรรดากองทุนที่ให้บริการดูแลสินทรัพย์ ได้รับความสนใจมากขึ้น ในฐานะผู้ใช้บล็อกเชน เราให้ความสำคัญกับความโปร่งใสความเป็นส่วนตัวอย่างมาก วันนี้ เราจะสาธิตวิธีตรวจสอบสินทรัพย์ที่ผู้ดูแลทรัพย์สินถืออยู่โดยไม่ทำลายความสมดุลอันละเอียดอ่อนนี้ได้อย่างไร โดยปกติแล้ว เราต้องเลือกระหว่างความโปร่งใส ความไว้วางใจ และการรักษาความลับของข้อมูล ข่าวดีก็คือ เรามีทางออก เราสามารถใช้การผสมผสานของโปรโตคอล Zero-Knowledge Proof เช่น zk-SNARK และ Merkle tree เพื่อจัดการกับสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำความเข้าใจกับ Zero-Knowledge Proof Zero-Knowledge Proof ช่วยให้ฝ่ายหนึ่ง...

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Cross-Chain Interoperability

เคยได้ยินหรือเห็นคำว่า “Cross-Chain Interoperability” กันไหม ? มันดูเหมือนป็นคำศัพท์ทางเทคนิคสำหรับผู้เชี่ยวชาญทางด้านบล็อกเชน แต่ไม่ต้องกังวลไป วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Cross-Chain Interoperability หรือ การทำงานร่วมกันข้ามสายโซ่กัน ลองนึกภาพว่าบล็อกเชนแต่ละเครือข่ายคือเกาะที่แยกออกจากกัน แต่ละเกาะมีสมบัติ (Assets), ผู้อยู่อาศัย (Serivces) และ กฏเกณฑ์ (Transactions) ที่มีเอกลักษณ์ของตัวเอง ซึ่งมันก็คงจะดีไม่น้อยถ้าหากว่าเกาะเหล่านี้สามารถสื่อสาร แลกเปลี่ยนสมบัติ และเข้าใจกฏเกณฑ์ของกันและกันได้ ซึ่งนั้นก็คือสิ่งที่...

Venom Foundation: ยุคใหม่ของเทคโนโลยี Blockchain?

ทำไมเราควรถึงติดตามโปรเจคนี้? วันนี้ทาง Enter to Start จะพาทุกคนเรียนรู้คร่าว ๆ เกี่ยวกับโปรเจคว่าโปรเจคนี้มีดีอะไร? ทำไมถึงได้รับ License ที่ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และมีมูลค่ากว่า 1000 ล้านบาท Venom Foundation เป็นใคร? Venom Foundation เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ได้รับใบอนุญาตเป็นรายแรกของจาก Abu Dhabi Global...

มาทำความรู้จักกับ $Venom

สำหรับเหรียญ Venom ถ้าใครเป็นสายล่า Airdrops คงจะเคยเห็นผ่านตามาบ้าง ซึ่งแน่นอนว่าเจ้าตัว Venom เองค่อนข้างอยู่ใน Early Stage และที่สำคัญเลยคือมีการได้รับเงินระดมทุนไปเป็นจำนวนมากจาก VC ต่างๆ ก่อนอื่นเราจะมาทำความรู้จักกับ @VenomFoundation, หลักการทำงาน, Tokenomics และ การล่า Airdrops เกี่ยวกับ Venom Venom Base on asynchronous architecture...

ERC-4337: อนาคตของ Ethereum Transactions

โลกของสกุลเงินดิจิทัล มีแนวคิดที่ซับซ้อนและคำศัพท์ทางเทคนิคมากมายที่เราต้องทำความรู้จักกับมัน ดังนั้น วันนี้เรากำลังดูสิ่งที่เรียกว่า ERC-4337 นี่คือการอัปเดตของเครือข่าย Ethereum ที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีที่เราโต้ตอบกันในโลกของคริปโต ในตอนแรกอาจฟังดูซับซ้อน แต่ลองดูแล้วคุณจะเห็นว่ามันช่วยให้ผู้ใช้งานอย่างเราๆ ทำอะไรง่ายขึ้นได้อย่างไร ERC-4337 คืออะไร ? Ethereum เช่นเดียวกับเครือข่ายอื่น ๆ มีสิ่งที่เรียกว่า 'Ethereum Improvement Proposals' หรือเรียกสั้น ๆ ว่า EIP มันเป็นแนวคิดในการทำให้เครือข่ายดีขึ้น...

ตายแล้ว ทำไงดี ? เตรียมความพร้อมให้สินทรัพย์คริปโตก่อนที่คุณจะจากไป

Bitcoin, Ether และคริปโตอื่นๆ อีกมากมายนับไม่ถ้วนกำลังกลายเป็นส่วนสำคัญของชีวิตดิจิทัลของเรา เมื่อสินทรัพย์ดิจิทัลเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น คำถามหนึ่งก็เกิดขึ้น: จะเกิดอะไรขึ้นกับคริปโตของคุณเมื่อคุณตายไป ? ถ้าเป็นสินทรัพย์แบบเก่า มันก็คงจะไม่ยากเท่าไหร่ในการทำพินัยกรรมเพื่อจัดการมรดกของคุณ แต่เมื่อพูดถึงคริปโตแล้ว ความท้าทายใหม่ก็เกิดขึ้น ด้วยความที่โลกคริปโตมีกระดานเทรด แพลตฟอร์ม และเทคโนโลยีที่หลากหลายในการใช้งาน การค้นหาว่าสินทรัพย์มันไปอยู่ตรงไหนบ้างหลังจากเจ้าของตายไปอาจเป็นอุปสรรคแรก จะเกิดอะไรหากคนที่คุณรัก ไม่สามารถเข้าถึงกระเป๋าเงินหรือบัญชีของคุณได้เพราะไม่มี Private Key หรือไม่รู้รหัส ความพยายามของพวกเขาในการค้นหาเพื่อเข้าถึงสินทรัพย์ของคุณอาจไร้ประโยชน์ เป็นผลให้ความมั่งคั่งทางดิจิทัลของคุณ ไม่ว่าจะเป็น Bitcoin, Ethereum, Altcoins...

ไขความลึกลับของ Data Tokenization

อะไรคือ Token ? คุณอาจเคยได้ยินคำว่า “โทเค็น (Token)” ที่หมุนเวียนไปมาในโลกของสกุลเงินดิจิทัล แต่คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าแท้จริงแล้ว โทเค็นหมายความว่าอย่างไร?  โดยพื้นฐานแล้ว โทเค็นไม่สามารถถูกขุดได้เอง มันจะถูกสร้างขึ้นโดยใช้บล็อกเชน อย่างโทเค็น $UNI หรือ $SUSHI บนเครือข่าย Ethereum วิธีการใช้งานของมันก็มีหลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นสกุลเงิน ไปจนถึงใช้ในการปกป้องข้อมูล มาตรฐานโทเค็นที่ได้รับความนิยมก็อย่าง ERC-20, ERC-721 และ ERC-1155 โทเค็น...

ไขความลึกลับของ Device Fingerprint

อะไรคือ Device Fingerprint ? คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าอุปกรณ์ดิจิทัลของคุณแตกต่างจากอุปกรณ์อื่นๆ นับล้านๆ เครื่องอย่างไร นั่นคือที่มาของ Device Fingerprint ซึ่งไม่ได้หมายถึงเครื่องแสกนลายนิ้วมือ ในโลกของวิทยาการคอมพิวเตอร์ “Fingerprinting” หมายถึงการสร้างตัวระบุเฉพาะ สำหรับข้อมูลดิจิทัลทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นลายนิ้วมือของโทรศัพท์หรือคอมพิวเตอร์ โดยมีเป้าหมายเพื่อระบุผู้ใช้หรืออุปกรณ์ พูดง่ายๆ ก็คือ กระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับการรวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ดิจิทัลของคุณ  ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์หรืออะไรก็ตาม ซึ่งกระบวนการนี้สามารถทำได้ แม้ว่าคุณจะทำการปกปิด IP หรือว่าเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ใช้งาน เมื่อก่อน บริการวิเคราะห์เว็บไซต์...

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับความแออัดของเครือข่ายบล็อกเชน (Blockchain Network Congestion)

พวกเราคงเคยเจอกับรถติดในช่วงเวลาที่ฝนตกตอนเลิกงาน สถานการณ์ที่คล้ายกันนี้ก็เกิดขึ้นในโลกของบล็อกเชนเช่นกัน ที่ซึ่งแทนที่จะใช้รถยนต์ เรากำลังเผชิญกับการจราจรติดขัดในการทำธุรกรรม เหตุการณ์นี้เรียกว่าความแออัดของเครือข่ายบล็อกเชน (Blockchain Network Congestion) เช่นเดียวกันกับที่รถจำนวนมากเกินไปอาจทำให้การจราจรติดขัด จำนวนธุรกรรมที่มากเกินไปอาจทำให้เครือข่ายบล็อกเชนแออัดได้เหมือนกัน กรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อธุรกรรมจำนวนมากถูกส่งเข้ามา มากเกินกว่าที่เครือข่ายจะสามารถจัดการได้ ลองนึกภาพภาพว่า Blockchain เป็นเกมการสร้างบล็อก ซึ่งแต่ละบล็อกประกอบด้วยกลุ่มของธุรกรรม ยิ่งธุรกรรมมาก ยิ่งต้องใช้บล็อกมาก แต่บางครั้ง อาจมีการทำธุรกรรมที่มากเกินไปสำหรับ blockchain จนไม่สามารถจัดการได้ทันท่วงที แล้ว Blockchain ทำงานอย่างไร? ลองนึกภาพสายโซ่ยาวๆ ที่แต่ละข้อต่อเป็นตัวแทนของบล็อก บล็อกเหล่านี้ประกอบด้วยข้อมูลธุรกรรมจากผู้ใช้...

Black Monday วันตลาดหุ้นถล่ม

Black Monday คือวันที่แย่สุดๆ ของตลาดหุ้นสหรัฐฯ ซึ่งหมายถึงวันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม ปี 1987 ซึ่งในวันนั้น ดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์ (DJIA) ลดลงมากถึง 22% ภายในวันเดียว เหตุการณ์ความปั่นป่วนทางการเงินครั้งนี้ไม่ใช่เหตุการณ์เพียงครั้งเดียว เนื่องจากก่อนหน้านี้ ตลาดหุ้นมีการดิ่งลงครั้งใหญ่ถึงสองครั้งเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้า Black Monday มีชื่อเสียงโด่งดังในด้านการเริ่มต้นการชะลอตัวของตลาดทั่วโลก ด้วยปริมาณการซื้อขายที่เพิ่มสูงขึ้น ระบบคอมพิวเตอร์ในสมัยนั้นจึงต้องทำงานอย่างหนัก เกิดความล่าช้าอย่างมาก จนไม่สามารถทำการจับคู่คำสั่งซื้อที่เข้ามาอย่างมหาศาลให้สำเร็จครบถ้วนได้ แม้ว่าโดยทั่วไปแล้ว...

เรื่องยอดนิยมวันนี้ | POPPULAR TODAY

เรื่องยอดนิยมวันนี้

เรื่องยอดนิยม 7 วัน | POPPULAR IN 7 DAYS

เรื่องยอดนิยม 7 วัน

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
    Cookies Details

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
    Cookies Details

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ
    Cookies Details

Save Settings